ระเบียบปฏิบัติในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา แห่ง คณะธรรมยุติกนิกาย ปีพุทธศักราช ๒๕๖๑ 7 มกราคม 20257 มกราคม 2025 ระเบียบปฏิบัติในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา แห่ง คณะธรรมยุติกนิกาย ปีพุทธศักราช ๒๕๖๑ ระเบียบปฏิบัติในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแห่งคณะธรรมยุติกนิกายพุทธศักราช ๒๕๖๑ ประกาศคณะธรรมยุตเรื่อง ให้ใช้ระเบียบปฏิบัติในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา คณะธรรมยุตมีระเบียบปฏิบัติในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เป็นจารีตธรรมเนียมเอกเทศ ตามที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ และสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงกำหนดรูปแบบจำเพาะไว้หลายประการ อีกทั้งยังมีชุดกัณฑ์เทศน์ที่บูรพาจารย์ได้รจนาไว้เป็นแบบสำหรับแสดงในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา สมควรที่จะได้สืบสานจารีต ธรรมเนียมแห่งหมู่ให้สถาพร แต่ครั้นกาลสมัยล่วงผ่านไป ภิกษุสามเณรชั้นหลังอาจไม่ทราบกระจ่างหรืออาจปฏิบัติเคลื่อนคลาดไปจากแบบธรรมเนียมเดิม เพื่อเชิดชูอปริหานิยธรรมในหมู่คณะ และเพื่อเพิ่มพูนศรัทธาปสาทะแห่งพุทธบริษัทให้งอกงามไพบูลย์ ในการประชุมคณะกรรมการคณะธรรรมยุต ครั้งที่ ๑๒/๒๕๖๐ เมื่อวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมตำหนักล่าง วัดบวรนิเวศวิหาร ได้มอบหมายให้คณะอนุกรรมการคณะธรรมยุตฝ่ายเผยแผ่จัดทำระเบียบปฏิบัติในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา โดยให้ประมวลข้อมูลและวิธีปฏิบัติในวันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา และวันอัฐมีบูชา ตามที่มีมาแต่เดิม พร้อมยกร่างวิธีปฏิบัติในวันอาสาฬหบูชา วันอธิษฐานเข้าพรรษา และ วันปวารณาออกพรรษารวมเข้าไว้ให้สมบูรณ์ด้วย คณะกรรมการคณะธรรมยุต ในการประชุมครั้งที่ ๑๒/๒๕๒๕๖๐ เมื่อวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๐ ณ ห้องประชุมตำหนักล่าง ได้พิจารณาร่างระเบียบตามข้อเสนอของคณะอนุกรรมการคณะธรรมยุตฝ่ายเผยแผ่แล้ว มีมติเห็นชอบและให้มีประกาศคณะธรรมยุด เรื่อง ให้ไช้ระเบียบปฏิบัติในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา เพื่อวัดทั้งหลายในคณะธรรมยุตทราบและให้พระอารามหลวง หรือวัดเจ้าคณะผู้ปกครองระดับอำเภอขึ้นไปถือปฏิบัฏิบัติตามระเบียบปฏิบัติในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแห่งคณะธรรมยุตพุทธศักราช ๒๕๖๑ ส่วนวัดอื่นนอกนั้นให้ปฏิบัติตามความเหมาะสมกับท้องถิ่น ดังรายละเอียดแจ้งในแนบท้ายประกาศ ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๖๑ (สมเด็จพระวันรัต)ปฏิบัติหน้าที่แทนเจ้าคณะใหญ่คณะธรรรมยุต กำหนดการวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฐมีบูชา วันอาสาฬหบูชา วันอธิษฐานเข้าพรรษา วันมหาปวารณาออกพรรษา กำหนดการวันมาฆบูชา ภาคเช้า เวลา ๐๙.๐๐ น. ลงทำวัตรเช้า แสดงพระธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์ ปูชากถา (กัณฑ์เช้า) ภาคค่ำ เวลา ๑๙.๐๐ น. ตีระฆัง ภิกษุสามเมรประชุมกันที่พระอุโบสถ/อุโบสถ ทำวัตรค่ำแล้วสวดพระพุทธมนต์ สูตรสวดพระพุทธมนต์ ๑. ขัดตำนาน (สมนุตา จกุกวาเพสุ) ๒. ปุพฺพภาคนมการ (นโม ตสฺส)๓. สรณคมน (พุทฺธํ สรณ์)๔. สีลุทฺเทสปาธ (ภาสิตมิทํ เตน ภควตา)๕. สํเวควตถุปริกิตตนปาร์ (อิธ ตถาคโต โลเก)๖. โคตมกเจติยธมมปริยาย (อภิญญาย โข โส ภควา)๗. ธมฺมจกกปุปวตตนสุตฺต์ (เอวมเม สุติ)๘. โอวาทปาฏิโมกุขคาถา (อุทฺทิฏธ์ โข เตน ภควตา)๙. สุปุพพณหสุตฺตคาถา (สุนกขตต์ สุมงคล)๑๐. สุขาภิยาจนคาถา (ยํ ยํ เทวมนุสุสาน)๑๑. สุมงุคลคาถา (โหตุ สพฺฬ) จบแล้ว ออกไปทำการบูชาและเวียนเทียนประทักษิณ ๓ รอบ ที่พระสถูปเจดีย์หรือพระอุโบสถ/อุโบสถ เสร็จแล้วกลับเข้ามาประชุมกัน ณ พระอุโบสถ/อุโบสถ/พระวิหาร/วิหาร/ศาลา แสดงพระธรรมเทศนา ตลอดคืน รวม ๑๒ กัณฑ์ และสวดรับเทศน์ในระหว่างตั้งแต่จบกัณฑ์ที่ ๑ ถึง จบกัณฑ์ที่ ๑๑ (จบกัณฑ์ที่ ๑๒ ไม่ต้องสวด) เสร็จแล้วสวด ปตฺติทานคาถา (ยา เทวตา) เทวตาอุยุโยชนคาถา (ทุกขปปตฺตา) สุมงคลคาถา (สุนกุขตฺตํ สุมงคล) ทำวัตรเช้า เสร็จพิธี กำหนดการวันวิสาขบูชา ภาคเช้า เวลา ๐๙.๐๐ น. ลงทำวัตรเช้า แสดงพระธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์ ปูชากถา (กัณฑ์เช้า) ภาคค่ำ เวลา ๑๙.๐๐ น. ตีระฆัง ภิกษุสามเณรประชุมกันที่พระอุโบสถ/อุโบสถ ทำวัตรค่ำแล้วสวดพระพุทธมนต์ สูตรสวดพระพุทธมนต์ ๑. ขัดตำนาน(สมนุตา จกุกวาเพสุ)๒. ปุพฺพภาคนมการ (นโม ตสฺส ภควโต)๓. สรณคมนปาร (พุทธ์ สรณํ คจฉามิ)๔. นมการสิทธิคาถา (โย จกขุมา)๕. รตนตฺตยปุปณามคาถา (พุทโธ-ปภาวสิทธิยา)๖. ติรตนนมการคาถา (โย สนนิสินโน)๗. สจุจกิริยาคาถา (นตฺถิ เม) ๘. มหาการุณิโก นาโถติอาทิกาคาถา๙. นโมการอฎธกคาถา (นโม อรหโต)๑๐. อคุคปปสาทสุตต (เอวมเม สุตํ)๑๑. โอวาทปาฏิโมกขาทิปาธ (อุททิฏธ์ โข-สาสนนติ)๑๒. สติปฏฐานปาร (อตฺถิ โข)๑๓. ม มคควิภงคสุตฺต (เอวมเม สุตํ)๑๔. สุปุพพณหสุตฺตคาถา (สุนกขตตํ)๑๕. รตนตฺตยปปภาวาภิยาจนคาถา (อรห์ สมุมา)๑๖. สุขาภิยาจนคาถา (ยํ ยํ)๑๗. โหตุ สพฺพํ จบแล้ว ออกไปทำการบูชาและเวียนเทียนประทักษิณ ๓ รอบ ที่พระสถูปเจดีย์ หรือพระอุโบสถ/อุโบสถ เสร็จแล้วกลับเข้ามาประชุมกัน ณ พระอุโบสถ/อุโบสถ/พระวิหาร/วิหาร/ศาลา แสดงพระธรรมเทศนา ตลอดคืน รวม ๙ กัณฑ์ และสวดรับเทศน์ในระหว่างตั้งแต่จบกัณฑ์ที่ ๑ ถึง จบกัณฑ์ที่ ๘ (จบกัณภัณฑ์ที่ ๙ ไม่ต้องสวด) เสร็จแล้วสวด ปตฺติทานคาถา (ยา เทวตา) เทวตาอุยุโยชนคาถา (ทุกขปปตฺตา) สุมงคลคาถา (สุนกุขตฺตํ สุมงุคล) ทำวัตรเช้า เสร็จพิธี หมายเหตุ เมื่อจะเทนภัมพ์ ธัมมจักกัปวัตตนสูตร ให้ภิกษุสามแผร) สวดรันมรักกักกับวัตสูตรา เมื่อจะเทศน์กัณฑ์ อนัตตลักขนสุดรสูตร ให้(ภิกษสานแมร) สวดอนัตตลักขณสตรก่อบ เมื่อจะเทศน์ภัณฑ์ อาทิตตปริยายสูตร ให้ภิกษุสามเมร) สวดอาทิตตตปริยายสุตรก่อน กำหนดการวันอัฐมีบูชา ภาคเช้า เวลา ๐๙.๐๐ น. ลงทำวัตรเช้า แสดงพระธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์ ปูชากถา (กัณฑ์เช้า) ภาคค่ำ เวลา ๑๙.๐๐ น. ตีระฆัง ภิกษุสามเมรประชุมกันที่พระอุโบสถ/อุโบสถ ทำวัตรค่ำแล้วสวดพระพุทธมนต์ สูตรสวดพระพุทธมนต์ ๑. ขัดตำนาน (สมนุตา จกุกวาเฬสุ)๒. ปุพฺพภาคนมการ (นโม ตสฺส)๓. สรณคมปาร (พุทฺธ์ สรณ์)๔. ปพพโตปมคาถา (ยถาปี เสลา)๕. สํเวควตุถุปริที่ปกปาร (อิธ ตถาคโต)๖. ธมฺมนิยามสุตฺต (เอวมุเม สุต)๗. ติลกุขณาทิคาถา (สพฺเพ สงขารา)๘. อภิณหปจุจเวกุขณปาร (อตถิ โข)๙. วิปสฺสนาภูมิปาธ (ปญจกขนุธา)๑๐. โมกฺขุปายคาถา (สพพวตฺถุตฺตมํ)๑๑. โหตุ สพฺพํ จบแล้ว ออกไปทำการบูชาและเวียนเทียนประทักษิณ ๓ รอบ ที่พระสูปเจดีย์ หรือพระอุโบสถ/อุโบสถ เสร็จแล้วกลับเข้ามาประชุมกัน ณ พระอุโบสถ/อุโบสถ/พระวิหาร/วิหาร/ศาลา แสดงพระธรรมเทศนา ตลอดคืน รวม ๑๓ กัณฑ์ และสวดรับเทศน์ในระหว่างตั้งแต่จบกัณฑ์ที่ ๑ ถึง จบกัณฑ์ที่ ๑๒ (จบกัณฑ์ที่ ๑๓ ไม่ต้องสวด) เสร็จแล้วสวด ปตฺติทานคาถา (ยา เทวตา) เทวตาอุยุโยชนคาถา (ทุกขปปตฺตา) สุมงคลคาถา (สุนกุขตฺตํ สุมงุคล) ทำวัตรเช้า เสร็จพิธี กำหนดการวันอาสาฬหบูชา ภาคเช้า เวลา ๐๙,๐๐ น. ลงทำวัตรเช้า แสดงพระธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์ตามความเหมาะสม ภาคค่ำ เวลา ๑๙.๐๐ น. ตีระฆัง ภิกษุสามเณรประชุมกันที่พระอุโบสถ/อุโบสถ ทำวัตรค่ำแล้วสวดพระพุทธมนต์ สูตรสวดพระพุทธมนต์ ๑. ขัดตำนาน (สมนุตา จกุกวาเฬสุ)๒. ปุพฺพภาคนมการ (นโม ตสฺส)๓. สรณคมน (พุทฺธํ สรณี)๔. รตนตตยปปณามคาถา (พุทฺโธ-ปภาวสิทธิยา)๕. เขมาเขมสรณปริที่ปิกาคาถา๖. นมการสิทฺธิคาถา (โย จกุขุมา)๗. สจุจกิริยาคาถา (นตฺถิ เม)๘. ธมฺมจกุกปุปวตตนสุตฺตํ (เอวมเม สุติ)๙. รตนตฺตยปปภาวสิทธิคาถา (อรหํ ใหม่)๑๐. สุมงคลคาถา (โหตุ สพุฬ) จบแล้ว ออกไปทำการบูชาและเวียนเทียนประทักษิณ ๓ รอบ ที่พระสถูปเจดีย์ หรือ พระอุโบสถ/อุโบสถ เสร็จแล้วกลับเข้ามาประชุมกัน ณ พระอุโบสถ/อุโบสถ/พระวิหาร/วิหาร/ศาลา แสดงพระธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์ เสร็จพิธี กำหนดการวันอธิษฐานเข้าพรรษา ภาคกลางวัน เวลา ๑๗.๐๐ น. (หรือเวลาที่เหมาะสม) ตักบาตรดอกไม้เพื่อภิกษุสามเณรนำไปบูชาปูชนียวัตถุ-ปูชนียสถานในวัด ภาคกลางคืน (เฉพาะภิกษุสามเณร) เวลา ๑๙.๐๐ น. ตีระฆัง ภิกษุสามเณรประชุมกันที่พระอุโบสถ/อุโบสถ ทำพิธีต่อไปนี้ ๑. ทำวัตรค่ำ๒. แสดงวัสสูปนายิกากถา ๑ กัณฑ์๓. อธิษฐานเข้าพรรษา๔. สวดพระพุทธมนต์ สูตรสวดพระพุทธมนต์ ๑. ปุพฺพภาคนมการ (นโม ตสฺส)๒. สรณคมน (พุทฺธํ สรณ์)๓. นมการสิทฺธิคาถา (โย จกุขุมา)๔. สจุจกิริยาคาถา (นตฺถิ เม)๕. มหาการณีโก นาโถอาทิกาคาถา (มหาการุณิโก นาโถ)๖. มงคลคาถาถา (อเสวนา)๗. รตนปริตตคาถา (ยงกิญจิ วิตตํ)๘. เมตตปริตตคาถา(เมตฺตญฺจ สพพพโลกสมี)๙. ขนธปริตฺตคาถา (วิรูปกุเขหิ เม)๑๐. สาราณียธมฺมสุตต์ (เอวมเม สุตํ)๑๑. ภิกฺขุอปริหานิยธมมสุตต์ (เอวมเม สุต)๑๒. โพชฌงคปริตต์(โพชฌงโค สติสงขาโต)๑๓. สุปุพพณหสุตฺตคาถา (สุนกขตต์)๑๔. สุมงคลคาถา (โหตุ สพฺฬ)๑๕. แจกเสนาสนะ๑๖. แสดงสามีจิกรรม (พิธีทำวัตร ขอขมาโทษ /ควรจัดเตรียมพานดอกไม้ธูปเทียนแพใช้ในพิธีดังกล่าวด้วย) เสร็จพิธี กำหนดการวันมหาปวารณาออกพรรษา ภาคเช้า เวลา ๐๙,๐๐ น. ลงทำวัตรเช้า แสดงพระธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์ตามความเหมาะสม ภาคค่ำ เวลา ๐๙.๐๐ น. ตีระฆังภิกษุสามแมรประชุมที่พระอุโบสถ/อุโบสถทำพิธีต่อไปนี้ ๑. ทำวัตรค่ำ๒. ตั้งญัตติปวารณา๓. ปวารณา๔. สวดพระพุทธมนต์ สูตรสวดพระพุทธมนต์ ๑. ปุพฺพภาคนมการ (นโม ตสฺส)๒. สจุจกิริยาคาถา (นตฺถิ เม)๓. สีลุทฺเทสปาร (ภาสิตมิทํ เตน)๔. โอวาทปาฏิโมกขคาถา (อุททิฏฐ์ โข)๕. ตายนคาถา (ฉินุท โสตํ)๖. ขนธปริตฺตคาถา (วิรูปกุเขหิ เม)๗. เมตตปริตตคาถา (เมตญจ สพพโลกสม๊)๘. โพชฌงคปริตต์(โพชฌงโค สติสงขาโต)๙. สุปุพพณหสุตฺตคาถา (สุนกุขตฺตํ) – เสร็จพิธี ๕. อ่าน มหามกุฎราชวรสุส ปตติทานคาถา (ทั้งภาษาบาลี และคำแปล)๖. สดับปกรณ์อุทิศถวายเป็นพระราชกุศลแด่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ เสร็จพิธี Loading… Taking too long? Reload document | Open in new tab Download [17.00 B] ที่มาและดาวน์โหลดกัณฑ์เทศน์ได้ที่ gongtham.net จำนวนผู้อ่าน : 14 เห็นว่าบทความนี้มีประโยชน์ โปรดแชร์.... Related posts: ทำเนียบวัดคณะสงฆ์ธรรมยุตในต่างประเทศ ปี2566 มติมหาเถรสมาคม กรณี ลัทธิเชื่อมจิต 5 รัฐในสหรัฐอเมริกา ที่มีวัดธรรมยุตมากที่สุด แบบรายงาน การปฏิบัติศาสนกิจในต่างประเทศของพระธรรมทูต DOCUMENTS วัดธรรมยุตวันสำคัญ